เมื่อท่านได้รับ email ต่างๆ ที่อาจมาจาก ธนาคาร หรือ email หรือ facebook หรือ องค์กร ต่างๆ เพื่อทำนิติกรรมสำคัญบางอย่าง ให้ทำการตรวจสอบเบื้องต้น ดังนี้
รูปแบบ Email หลอกลวง
เมื่อท่านได้รับ email ต่างๆ ที่อาจมาจาก ธนาคาร หรือ email หรือ facebook หรือ องค์กร ต่างๆ เพื่อทำนิติกรรมสำคัญบางอย่าง เบื้องต้น ให้ตรวจเช็คจากแหลงที่ส่งมาก่อน ว่าส่งมาจากองค์กร ที่ถูกต้องหรือไม่ และ ลิงค์หลอกลวงนั้น มีการลิ้งค์ไปที่อื่นๆ ใช่หรือไม่ เช่น ตัวอย่าง ที่ 1 :: Email มาจาก info@ktb.com ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ซึ่งจริงปกติแล้ว ทางกรุงไทย มิได้ใช้ ktb.com จะใช้เป็น https://www.ktbnetbank.com หรือ https://www.newcb.ktb.co.th
Subject : รหัสผ่านบัญชีของคุณถูกเปลี่ยน!
และให้ลองเอา mouse ไปวางเบาๆ บน่ลิงค์ที่มี ว่ามีการทำลิงค์ไปยังคนละที่หรือไม่ ถ้ามีการลิงค์ไปกันคนที่ละ ฟันธงได้เลยค่ะว่า เป็น Emaill หลอกลวงค่ะ ดังตัวอย่างนี้ ในเนื้อความ เชียนว่า https://www.ktbnetbank.com แต่แท้จริงแล้ว เวลาคนใช้งานกด แล้วจะส่งลิงค์ไปยัง https://fegaye.ga/mails/login-verify/ktbnetbank.com/index.php เป็นต้น และ สุดท้าย หากตรวจสอบทุกๆ อย่างแล้ว ยังไม่แน่ใจว่า เป็น Email หลอกลวงหรือไม่ ก็อย่ากดค่ะ ให้ติดต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสอบถามเจ้าหน้าที่ สิ่งเหล่านี้ จะทำให้เราไม่ผิดพลาดต่อนิติกรรมต่างๆ ค่ะ
Subject : ประกาศสำคัญ
และให้ลองเอา mouse ไปวางเบาๆ บน่ลิงค์ที่มี ว่ามีการทำลิงค์ไปยังคนละที่หรือไม่ ถ้ามีการลิงค์ไปกันคนที่ละ ฟันธงได้เลยค่ะว่า เป็น Emaill หลอกลวงค่ะ ดังตัวอย่างนี้ ในเนื้อความ เชียนว่า http://www.krungsri.com แต่แท้จริงแล้ว เวลาคนใช้งานกด แล้วจะส่งลิงค์ไปยัง https://etrack.co.in/krunggsr/krungsriburuji/index.html เป็นต้น และ สุดท้าย หากตรวจสอบทุกๆ อย่างแล้ว ยังไม่แน่ใจว่า เป็น Email หลอกลวงหรือไม่ ก็อย่ากดค่ะ ให้ติดต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสอบถามเจ้าหน้าที่ สิ่งเหล่านี้ จะทำให้เราไม่ผิดพลาดต่อนิติกรรมต่างๆ ค่ะ